บทความ

คำสั่ง PLS,PLF คำสั่งทำงานชั่วขณะ

รูปภาพ
คำสั่ง PLS,PLF  คือคำสั่งที่ทำให้ตัวแปล ชนิท Bit ทำงานเพื่อชั่วขณะ คำสั่ง PLS คือ คำสั่งที่เมื่อ INPUT CONTACT "ทำงาน" จะทำให้ตัวแปล Bit นั้นๆ ทำงานเพียงชั่วขณะ จนกว่าสถานะ INPUT CONTACT จะ ไม่ทำงาน คำสั่ง PLF คือ คำสั่งที่เมื่อ INPUT CONTACT "ไม่ทำงาน" จะทำให้ตัวแปล Bit นั้นๆ ทำงานเพียงชั่วขณะ  จนกว่าสถานะ INPUT CONTACT จะ ทำงาน ซึ้งสามารถ แสดงให้เห็นหารทำงานด้วย Tim Diagram ดั้งนี้ ซึ่งคำสั่งนี้ ผมมักจะ ใช้ในกรณี เวลาเขียนโปรแกรม นับชิ้นงาน โดยการ ให้ ตัวแปล ชนิท บิต ON ไว้ จน โปรแกรม ทำงาน จบ 1 Cycle Time แล้ว ให้  ตัวแปล ชนิท บิต นั้น OFF ซึ่งก่อนหน้า นั้น ผมจะทำการ  ให้ ตัวแปล ชนิท บิต ON โดย การ ใช้ คำสั่ง SET และให้ตัวแปลนั้น ไปนับ Timer เพื่อ OFF ด้วยคำสั่ง RST ซึ่งถ้าหากผมใช้ คำสั่ง PLS จะสั้นและประหยัดหน้วยความจำกว่ามาก ดูได้จากรูปด้านล่างนี้

คำสั่ง SET , RST คำสั่งทำงานคล้าย Self Holding

รูปภาพ
คำสั่ง SET คือ คำสั่งที่เมื่อมีสัญญานสั่งให้ทำงาน ทำให้ตัวแปล แบบ BIT มีสถานะ ON ค้างสถานะ คล้าย วงจร Self Holding รูปแบบคำสั่ง     ตัวแปล สั่งงาน |--------|  |-----------------------[SET  Y,M,S,D⌂.b ] ตัวอย่าง คำสั่ง RST คือ คำสั่งที่เมื่อมีสัญญานสั่งให้ทำงาน ทำให้ตัวแปล แบบ BIT มีสถานะ OFF และ สามารถ รีเซตค่า ตัวแปล แบบ WORD ให้มีสถานะเป็น 0 ได้ รูปแบบคำสั่ง     ตัวแปล สั่งงาน |--------|  |-----------------------[SET  Y,M,S,D⌂.b,ตัวแปล ชนิด Word   ] ตัวอย่าง *ข้อดีของคำสั่ง SET ,RST คือ 1รูปแบบโปรแกรมแลดูง่ายกว่าวงจร Self Holding                                                  2 บางครั้ง ในการเขียนคำสั่ง คล้ายกัน ใช้ความจำน้อยกว่า

คำสั่งเลื่อนข้อมูลชนิด Word Shift Data LEFT สำหรัย PLC MITSUBISHI [ WSFL,WSFLP ]

รูปภาพ
คำสั่งเลื่อนข้อมูลชนิด Word WSFL,WSFLP คำสั่งเลื่อน WORD ไปท้างซ้าย [WSFLP A B C D] A = ตัวแปลอ้างอิงหรือค่าตัวแปลคงที่  โดยจะเก็บค่านี้ เป็นค่าล่าสุดของการเลื่อน B = ตัวแปลที่ใช้เก็บข้องมูลเริ่มต้น C = ค่ากำหนดขอบเขตการเลื่อนของจำนวน ข้อมูล D = ค่าที่ใช้ในการกำหนดการเลื่อนของข้อมูล ตัวอย่าง ถ้า เขียนคำสั่ง [WSFLP D100 D0 K3 K1]     X0 ----| |----------[WSFLP D100 D0 K3 K1] เมื่อ สัญญาน X0 สั่งให้ คำสั่ง WSFLP ทำงาน จะทำให้เกิด การเลื่อนของข้อมูลดังนี้ ล ในเบื้องต้น ข้องมูลที่ เก็บไว้ที่ D0ถึง D2 จะเลื่อนข้อมูลไปทางซ้าย 1 ตำแหน่ง แล้วนำ ข้อมูลที่ เก็บไว้ที่ D100 จะถูกคัดลอกมายัง ตำแหน่ง D0  หรือดูการทำงานของ คำสั่งได้จะคลิปด้านล่างครับ ถ้า เขียนคำสั่ง [WSFLP D100 D0 K3 K2]      X0 ----| |----------[WSFLP D100 D0 K3 K2] เมื่อ สัญญาน X0 สั่งให้ คำสั่ง WSFLP ทำงาน จะทำให้เกิด การเลื่อนของข้อมูลดังนี้ ในเบื้องต้น ข้องมูลที่ เก็บไว้ที่ D0ถึง D2 จะเลื่อนข้อมูลไปทางซ้าย 2 ตำแหน่ง แล้วนำ ข้อมูลที่ เก็บไว้ที่ D100  จะถูกคัดลอกมายัง ตำแหน่ง D0 และ ข้อมูล

คำสั่ง SET และ RST สำหรับ PLC MITSUBISHI FX

รูปภาพ
คำสั่ง SET และ RST  คำสั่ง SET ,RST คือคำสั้งที่ เปลื่ยนสถานะ ตัวแปล ประเภทบิท ของ PLC เช่นใน PLC ของ MITSUBISHI FX ซี่รี่ จะตัวแปล M,S,Y (ในรุ่น FX 3U สมารถ ใช้ บิทภายในตัวแปลประเภท เก็บค่าตัวเลข(D) เช่น บิทที่ 0 ของ D0 จะเขียนว่า D0.0 เป็นต้น ) คำสั่ง SET คือ คำสั่ง สำหรับสั่งให้อุปกรณ์ ประเภท บิท มีสถานะ ON หรือ มีค่าเท่ากับ 1  ** ON ค้างสถานะ หลังจากคำสั่ง นี้ทำงาน และจะ ON ค้าง ต่อไปแม้ว่าจะเลิกสั่งงานคำสั่ง SET แล้ว  รูปแบบคำสั่งคื่อ เงื่อนไขการสั่งงาน ---------|   |-----------------------------[SET ตัวแปลที่ต้องการสั่ง ] คำสั่ง RST คือ คำสั่ง สำหรับสั่งให้อุปกรณ์ ให้อุปกรณ์ ประเภท บิท มีสถานะ OFF หรือ มีค่าเท่ากับ 0 รูปแบบคำสั่งคื่อ เงื่อนไขการสั่งงาน ---------|   |-----------------------------[RST ตัวแปลที่ต้องการสั่ง ] ** นอกจากตัวแปลประเภทบิท คำสั่ง RST ยังสามารถใช้สั่งตัวแปลประภทตัวเลข(16bit) ได้ด้วยนะ เช่น ถ้าจะสั่ง ให้ตัวแปล D0 มีค่าเท่ากับ 0 จะใช้คำสั่ง  เงื่อนไขการสั่งงาน ---------|   |--------------------------

ตัวอย่างการ เขียน Program PLC ภาษา Ladder diagram ควบคุมกระบอกสูบ นิวเมติกส์

รูปภาพ
ตัวอย่างการ เขียน Program PLC ภาษา Ladder diagram ควบคุมกระบอกสูบ นิวเมติกส์ ตอนผมเริ่มต้นเขียน โปรแกรม PLC ใหม่ ผมเริ่มจากการ เขียนการควบคุม กระบอกสูบ นิวเมติกส์ โดยการควบคุม แบบ สเต็ป ต่อ สเต็ป โดยกระบอก 1 ทำเสร็จ กระบอก 2 ทำต่อ ประมาณนี้ ครับ ซึ่งผมคิดว่า การควบคุมแบบนี้น่าจะ ช่วยให้ มองการเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น นะครับ ในตัวอย่างนี้ จะเป็นการเขียนโปรแกรม ควบคุม 3 กระบอกสูบ โดยจะตั่งชื่อ กระบอกว่า กระบอกสูบ A กระบอกสูบ B และ กระบอกสูบ C โดยทั้งหมด จะใช้ โซลินอยลม 5/2 ในการควบคุมลมเข้าออกกระบอกสูบ กระบวนการทำงานของตัวอย่างคือ คือ เมื่อกดปุ่ม เริ่ม กระบวนการที่ 1 กระบอกสูบ A จะเคลื่อนที่ออกจนสุด กระบวนการที่ 2 กระบอกสูบ B จะเคลื่อนที่ออกจนสุด กระบวนการที่ 3 กระบอกสูบ C จะเคลื่อนที่ออกจนสุด กระบวนการที่ 4 กระบอกสูบ C จะเคลื่อนที่ถอยเข้าจนสุด กระบวนการที่ 5 กระบอกสูบ AและฺB จะเคลื่อนที่ถอยเข้าจนสุด พร้อมกัน เมื่อ กระบวนการที่ 5 เสร็จสิ้น จะเริ่ม ทำกระบวนการที่ 1 ถึง 5 เรียงตามลำดับ วนอย่างนี้ไปเรื่อยๆ จนกดปุ่ม หยุด กระบวนการจะไม่หยุดทันที จน กว่าจะทำกระบวนการที่ 5 เสร็จส